การเสริมสร้างพลังอำนาจในการดูแลตนเองในกลุ่มผู้ป่วยปวดเรื้อรังที่ช่องปากและใบหน้า
Researcher:Assistant Professor Dr. Teekayu Palangkoon
Contact: Department of Oral Biomedical Sciences
Collaborator:Neuroscience Research and Development Group
Patent:
Chronic pain in the face and mouth refers to pain in the mouth area. Facial muscles Jaw joint or pain from the facial nerve A long period of more than 6 months and sometimes Patients may have chronic pain that lasts years or even life, affecting close individuals. Mental state of the patient And access to medical services, especially in Thailand with limited resources Management of chronic pain can be administered by long-term medication, surgery, physical therapy, psychotherapy and behavioral therapy. Which takes time Cooperation from patients And there are still many medical expenses. Many patients with chronic pain suffer from psychosocial impacts. It is often found that patients suffer from stress, anxiety, or depression.Organizing group activities to empower them in self-care of patients in this group can help improve their understanding of the disease. Meeting with patients with similar problems And the study of researchers found that after the patient has joined the department can reduce anxiety, stress, reduce the frequency of doctor visits. And sometimes can reduce the medication that the patient can use Also has been used Application program (application) in mobile phone That patients can use to manage their pain by themselves Together with the medical team that can treatAs

การปวดเรื้อรังที่ใบหน้าและช่องปาก หมายถึง อาการปวดที่บริเวณช่องปาก กล้ามเนื้อใบหน้า ข้อต่อขากรรไกร หรือ ปวดจากเส้นประสาทใบหน้า ที่มีระยะเวลายาวนานมากกว่า 6  เดือนและในบางครั้ง ผู้ป่วยอาจมีอาการปวดเรื้อรังที่ยาวนานหลายปี หรือ ตลอดชีวิต  ส่งผลกระทบต่อบุคคลใกล้ชิด สภาพจิตใจของผู้ป่วย และการเข้าถึงการให้บริการทางการแพทย์โดยเฉพาะในประเทศไทยที่มีทรัพยากรที่จำกัด การจัดการอาการปวดเรื้อรังสามารถทำได้รูปแบบทั้งการใช้ยาที่ต้องใช้ในระยะยาว การผ่าตัด กายภาพบำบัด การรักษาด้วยจิตและพฤติกรรมบำบัด ซึ่งต้องใช้เวลา ความร่วมมือจากผู้ป่วย และยังมีค่าใช้จ่ายทางการแพทย์จำนวนมาก ผู้ป่วยที่มีปัญหาปวดเรื้อรังจำนวนมากมักมีผลกระทบทางด้านจิตสังคม โดยมักพบว่าผู้ป่วยมักมีปัญหาเครียด วิตกกังวล หรือ ภาวะซึมเศร้า การจัดกิจกรรมกลุ่มเพื่อช่วยเสริมสร้างพลังอำนาจ (empower) ในการดูแลตนเองของผู้ป่วยในกลุ่มนี้สามารถช่วยเพื่มความเข้าใจของโรคได้ดีขึ้น การได้พบปะกับผู้ป่วยที่มีปัญหาคล้ายกัน และจากการศึกษาของผู้วิจัยพบว่าหลังจากที่ผู้ป่วยเข้าร่วมกิจกกรม แล้ว สามารถลดความวิตกกังวล ความเครียด ลดความถี่ในการมาพบแพทย์ และในบางครั้งสามารถลดยาที่ผู้ป่วยใช้ได้ นอกจากนี้ยังมีการใช้ โปรแกรมใช้งาน (application) ในโทรศัพท์มือถือ ที่ผู้ป่วยสามารถใช้จัดการความปวดด้วยตัวเอง ร่วมกับทีมแพทย์ที่ทำการรักษาได้

  1. A work focused on both self and group pain management and the use of an application program to manage pain by themselves and in collaboration with the medical team who can treat the patient.
  2. Reduce the frequency that chronic pain patients have to see a doctor. And in some patients it can reduce dependence on painkillers.
  3. Build a self-help group to manage chronic pain.
Post Views: 251