โปรแกรมและแอปพลิเคชั่นเฝ้าระวังภัยน้ำท่วมภายใต้แบบจำลองอุทกวิทยา
Researcher:Associate Professor Supasit Konyai
Contact: Department of Agricultural Engineering, Faculty of Engineering, KKU; Tel / Fax 043- 009-700 ext. 50123, 081-661-9611 E-mail: supaku@kku.ac.th
Collaborator:KKU Smart City Project
Patent:
Flood monitoring system under accurate hydrological model It is a project that brings together knowledge in many disciplines. The objective is to solve problems and find ways to prevent or mitigate the severity of the flood that will occur. That will affect the economy, health, homes or property or agricultural areas Which, when considered the value of the damage, is very mental and economic Floods can be divided into 2 types: flooding in the community area or the city. And floods in agricultural areas or around the city To solve the problem of flooding must be viewed as a system and a single block. Cannot fix only any part of the problem Must solve problems at the same time Hydrology models are therefore important. To understand the system and pattern or the amount of water that will occur This starts with the amount of rainfall that will occur in the area as well as statistics of the rain in the past. If there is a rainfall that falls beyond the capacity of the water catchment area (Watershed Area) or the river (River) will cause excess water causing runoff from the conditions of the hydrological system or various variables. That have caused a flood As mentioned above If we can know or measure variables and accurately process the mass of water that will occur. This information can be used to design a surveillance system and determine how to manage future floods. Internet of Things (IoT) or the Internet of Things It connects many devices into the Internet world. Making it possible to command, control or monitor various devices through the Internet It makes it more comfortable, shorter, and easier. Moreover, nowadays, IoT technology is playing an increasingly important role in human daily life. Whether it is agriculture, military, transportation, etc. But IoT still has problems in connection due to the connection to the Internet. Because some or some places are distant Causing poor internet access And including the need to have an adequate power supply to meet the needs of the system. Therefore, NB-IoT (Narrow band Internet of Things) technology is applied to solve this problem, as NB-IoT is the latest standard for connecting various IoT devices to mobile internet without 3G / 4G. NB-IoT is low power consumption. Can use energy from Solar Cell by reducing the panel size. Support for connecting multiple devices simultaneously, can be used both indoors. And large areas The device is cheaper, easy to use, works through networks that have already set up towers. Therefore, the project to create a flood surveillance system under the correct hydrological model. It is a project created to study and integrate principles Hydrological data Land use information Surveillance network information system And how to monitor the flood with IoT technology with the appropriate guidance To be used primarily in water management, whether it is the management of floods that affect urban communities. Or farmers community In that area correctly and able to answer spatial problems (Area Based) properly By adopting NB-IoT technology as a medium for connecting to the Internet world more easily. Make network information system surveillance And surveillance of floods is easily accessible and convenient to the user.

ระบบเฝ้าระวังน้ำท่วมภายใต้แบบจำลองอุทกวิทยาที่ถูกต้อง เป็นโครงการที่รวบรวมองค์ความรู้ในหลายสาขาวิชา โดยมีวัตถุประสงค์จะแก้ปัญหาและหาแนวทางในการป้องกันหรือบรรเทาความรุนแรงของปรากฎการณ์น้ำท่วมที่จะเกิดขึ้น ที่จะส่งผลกระทบต่อเศรฐกิจ สุขภาพ บ้านเรือนหรือทรัพย์สิน หรือ พื้นที่เกษตรกรรม ซึ่งเมื่อคิดเป็นมูลค่าความเสียหายแล้วมากทั้งจิตใจและระบบเศรฐกิจ น้ำท่วมจะแบ่งออกได้ 2 ลักษณะคือ น้ำท่วมในเขตชุมชนหรือตัวเมือง และน้ำท่วมในพื้นที่เกษตรกรรมหรือรอบเมือง ในการแก้ปัญหาเรื่องน้ำท่วมต้องมองให้เป็นระบบและเป็นก้อนเดียวกัน จะทำการแก้ปัญหาเพียงส่วนใดส่วนหนึ่งไม่ได้ ต้องทำการแก้ปัญหาไปพร้อม ๆ กัน
แบบจำลองอุทกวิทยาจึงเป็นสิ่งสำคัญ ที่จะทำให้เข้าใจระบบและรูปแบบการเกิดหรือปริมาณน้ำที่จะเกิดขึ้น โดยเริ่มต้นจากปริมาณน้ำฝนที่จะเกิดขึ้นในพื้นที่รวมทั้งข้อมูลสถิติของฝนในอดีต หากมีปริมาณน้ำฝนที่ตกลงมาเกินกว่าความสามารถของพื้นที่รับน้ำ (Watershed Area) หรือแม่น้ำ (River) ก็จะเกิดเป็นน้ำส่วนเกินทำให้เกิดเป็นน้ำไหลบ่า (Runoff) จากเงื่อนไขของระบบอุทกวิทยาหรือตัวแปรต่าง ๆ ที่มีทำให้เกิดน้ำท่วม ดังที่ได้กล่าวมาแล้วในข้างต้น หากเราสามารถทราบหรือวัดค่าตัวแปรและประมวลผลมวลน้ำที่จะเกิดได้อย่างแม่นยำ ซึ่งข้อมูลเหล่านี้สามารถนำไปออกแบบระบบเฝ้าระวังและกำหนดวิธีการจัดการน้ำท่วมที่จะเกิดขึ้นได้ในอนาคต
Internet of Things (IoT) หรืออินเทอร์เน็ตสำหรับสรรพสิ่ง เป็นการเชื่อมโยงอุปกรณ์ต่าง ๆ นานา เข้าสู่โลกอินเทอร์เน็ต ทำให้สามารถสั่งการ ควบคุม หรือเฝ้าระวังอุปกรณ์ต่าง ๆ ผ่านอินเตอร์เน็ต ทำให้เกิดความสะดวกสบาย ลดระยะเวลา และง่ายยิ่งขึ้น อีกทั้งปัจจุบันเทคโนโลยี IoT ที่เข้ามามีบทบาทสำคัญในชีวิตประจำวันของมนุษย์มากขึ้น ไม่ว่าจะเป็นทางด้านการเกษตร ทางการทหาร ทางการขนส่ง เป็นต้น แต่ IoT ยังคงมีปัญหาในเรื่องของการเชื่อมต่อเนื่องจากการเชื่อมต่อสู่อินเตอร์เน็ต เนื่องจากบางแห่งหรือบางสถานที่ห่างไกล ทำให้การเข้าถึงอินเตอร์เน็ตไม่ทั่วถึง และรวมถึงจำเป็นต้องมีแหล่งจ่ายกระแสไฟให้เพียงพอต่อความต้องการในการเลี้ยงระบบ ดังนั้นจึงมีการนำเทคโนโลยี NB-IoT (Narrow band Internet of Things) มาใช้เพื่อแก้ปัญหาดังกล่าว เนื่องด้วย NB-IoT เป็นมาตรฐานใหม่ล่าสุดของการเชื่อมต่ออุปกรณ์ IoT ต่างๆ เข้าสู่อินเทอร์เน็ตมือถือ โดยไม่ผ่าน 3G/4G จุดเด่นของ NB-IoT คือใช้พลังงานต่ำ สามารถใช้พลังงานจาก Solar Cell ได้โดยลดขนาดแผงลง รองรับการเชื่อมต่อของอุปกรณ์จำนวนมากพร้อมๆ กัน สามารถใช้ได้ทั้งในอาคาร และพื้นที่ใหญ่ๆ อุปกรณ์ราคาถูกกว่า ใช้งานง่าย ทำงานผ่านเครือข่ายที่มีการตั้งเสาอยู่แล้ว
ดังนั้นโครงการจัดทำระบบเฝ้าระวังน้ำท่วมภายใต้แบบจำลองอุทกวิทยาที่ถูกต้อง เป็นโครงการที่จัดทำขึ้นเพื่อศึกษาและรวบรวมหลักการ ข้อมูลอุทกวิทยา ข้อมูลการใช้ประโยชน์ที่ดิน ระบบสารสนเทศเครือข่ายเฝ้าระวัง และวิธีการเฝ้าระวังน้ำท่วมด้วยเทคโนโลยี IoT พร้อมเสนอแนะแนวทางที่เหมาะสม เพื่อใช้เป็นหลักในการจัดการน้ำไม่ว่าจะเป็นการจัดการน้ำท่วมที่มีผลกระทบต่อชุมชนเมือง หรือชุมชนเกษตรกร ในพื้นที่นั้น ๆ ให้ถูกต้องและสามารถตอบปัญหาเชิงพื้นที่ (Area Based) ได้อย่างเหมาะสม โดยการนำเทคโนโลยี NB-IoT มาเป็นตัวกลางสำหรับการเชื่อมต่อสู่โลกอินเตอร์เน็ตได้สะดวกขึ้น ทำให้ระบบสารสนเทศเครือข่ายเฝ้าระวัง และการเฝ้าระวังน้ำท่วมสามารถเข้าถึงได้ง่ายและสะดวกต่อผู้ใช้งาน

1.It is a surveillance system that can measure parameters for assessing the amount of floods in study areas with Internet of Things and cloud technology.
2. Able to use information to create a flood prevention approach in the study area to be a model
3. A network of surveillance with a real-time information system.

Post Views: 438