Development of surveillance system for Burkholderia pseudomallei infection in human and environment and prediction model of infection using advance molecular techniques and actual fact from prototype community (2nd years)

ชื่อโครงการ การพัฒนาระบบเฝ้าระวังการติดเชื้อ Burkholderia pseudomallei ในมนุษย์ สัตว์ และสิ่งแวดล้อม และต้นแบบการพยากรณ์การติดเชื้อ โดยใช้เทคนิคทางโมเลกุลขั้นสูง และข้อมูลจริงจากชุมชนต้นแบบ (ปีที่ 2)

Development of surveillance system for Burkholderia pseudomallei infection in human and environment and prediction model of infection using advance molecular techniques and actual fact from prototype community (2nd years)

ชื่อนักวิจัย นางสาวเบญจวรรณ แก้วสีขาว

Miss Benjawan Kaewseekhao

คณะ/หน่วยงาน
คณะแพทยศาสตร์ ภาควิชาจุลชีววิทยา มหาวิทยาลัยขอนแก่น
รายละเอียดการติดต่อ ที่อยู่ : 27/1 บ้านสำราญสุข ตำบลหนองแก อำเภอศรีบุญเรือง จังหวัดหนองบัวลำภู 39180

โทรศัพท์มือถือ 0844960988

E-mail : benjawank@kkumail.com

ชื่อที่ปรึกษาโครงการ เกียรติไชย ฟักศรี
คณะ/หน่วยงาน
ภาควิชาจุลชีววิทยา คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
รายละเอียดการติดต่อ เบอร์โทรศัพท์ 0894373782

E-Mail : kiatichai@kku.ac.th
ลักษณะของโครงการวิจัย โครงการวิจัยนี้มีแผนในการดำเนินการ คือ

1) การลงพื้นที่ชุมชนในจังหวัดในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ที่มีความชุกของโรคสูง เช่น จังหวัดขอนแก่น โดยเลือกชุมชนต้นแบบ ในหมู่บ้านที่มีอุบัติการณ์โรคเมลิออยด์สูง ในจังหวัดขอนแก่น (เช่น อ.น้าพอง) ซึ่งมีข้อมูลระบาดวิทยาของเชื้อในสิ่งแวดล้อมและในสัตว์ที่ครบถ้วน เพื่อให้ความรู้ในการป้องกันและศึกษาประเมินพฤติกรรมของประชาชนต่อความเข้าใจและการป้องกันโรค พร้อมด้วยการเก็บรวมรวมเชื้อในปี 2561-2562 และ

2) สร้างระบบเฝ้าระวังการเกิดโรคเพื่อเป็นเครื่องมือสนับสนุนการตัดสินใจ และคาดคะเนความรุนแรงของโรคเมื่อเปลี่ยนแปลงปัจจัยทางสิ่งแวดล้อมให้กับผู้บริหารด้านการสาธารณสุข ในการป้องกันการเกิดโรค และวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยทางด้านภูมิสารสนเทศกับการเกิดโรคเมลิออยด์

3) การหาลาดับพันธุกรรมทั้งจีโนมของเชื้อที่เก็บรวบรวมไว้ 13 ปี ตั้งแต่ปี 2547 ซึ่งแยกได้จากผู้ป่วย (สุ่มเลือกจาก Biobanking เชื้อจานวน 6,000 isolates จากทุกจังหวัดในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ) รวมทั้งเชื้อที่แยกได้จากสัตว์ ดิน และน้า รวมกับเชื้อที่เก็บเพิ่มเติม รวม 500 ตัวอย่าง และวิเคราะห์เกี่ยวกับ 1.1) cluster analysis and genetic relatedness among human, animal and environment, 1.2) Prediction model for pathogen spreading and drug resistance, 1.3) other analysis such as virulence factors and drug resistant mutations และ สร้างระบบเฝ้าระวังและฐานข้อมูล เกี่ยวกับการกระจายตัวของเชื้อและจีโนมของเชื้อในพื้นที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ การแสดงความสัมพันธ์ของเชื้อแต่ละสายพันธุ์ การดื้อยา พื้นที่ เวลา และ phylogenetic tree (พร้อมด้วยการศึกษาต่อเนื่องถึงเชื้อจากชุมชนต้นแบบในโครงการปีที่ 2)